วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สรุปเรื่อง Array and Record ครั้งที่2

Array= อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์อคือ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลักจะพิจารณาตามประเภทอะเรย์คือ
1.อะเรย์ 1 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำสำหรับตัแปร a ให้เป็นตัวแปรชุด character ขนาดสมาชิก 4 สมาชิก โดยหน่วยควาจำจะเตรียมเนื้อที่ให้ 1 byte สำหรับ 1 ชื่อตัวแปร
2.อะเรย์ 2 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำ จำนวน 6 ที่สำหรับตัวแปร a

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สรุปสาระในการเรียนรู้ครั้งที่1

รู้ถึงความหมายของโครงสร้างข้อมูล

ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
ในภาษาคอมพิวเตอร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ
1.1 ข้อมูลเบื้องต้น Primitive Data Types
1.2 ข้อมูลโครงสร้าง Structured Data Types
2. โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
-เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้างขึ้น แบ่ง เป็น 2 ประเภท
2.1 โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น Linear Data Structures
2.2 โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ Non-Linear Data Structures
ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัว
ได้แก่ ทรี และกราฟ

ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหนุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ


ภาษาขั้นตอนวิธี Algorithm Language

1. ตัแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษรหรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ
นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายใน
การเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ = ไม่เท่ากับ
< น้อยกว่า > มากกว่า
≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ
goto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไข
ก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของ
ขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /

DTS-02/23/06/2552

#include
#include
void main()
{

struct car {
char kind[50];
char brand[50];
char genevation[50];
char color[30];
char price[30];
char gears[20];
int regis;
char country[20];
};

struct car vehicle;
strcpy(vehicle.kind,"car");
strcpy(vehicle.brand,"Honda");
strcpy(vehicle.genevation,"Jazz");
strcpy(vehicle.color,"white");
strcpy(vehicle.price,"560000");
strcpy(vehicle.gears,"Auto");
vehicle.regis=1234.00;
strcpy(vehicle.country,"Thailand");
printf("==========Car========\n\n");
printf(" Kind: %s\n",vehicle.kind);
printf(" Brand: %s\n",vehicle.brand);
printf(" Genevation: %s\n",vehicle.genevation);
printf(" Color: %s\n",vehicle.color);
printf(" Price: %s\n",vehicle.price);
printf(" Gears: %s\n",vehicle.gears);
printf(" Register: %d\n",vehicle.regis);
printf(" Country: %s\n",vehicle.country);

}

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


ชื่อ : นางสาวนิภาดา ประทุมทอง ชื่อเล่น ตาล

รหัสนักศึกษา 50132792061

Miss.Nipada Pratomthong

หลักสูตร : การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

E-mail:
u50132792061@gmail.com