ดิฉันได้ศึกษาในวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพสิ่งที่ได้รับเป็นประโยชน์มากมาย ซึ่งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้คือ
1.การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.การมีความสามัคคีในหมู่คณะและงานที่รับผิดชอบของตนเอง
3.การตรงต่อเวลา
4.การมีระเบียบวินัยและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
5.การรู้จักแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและการทำงานเป็นหมู่คณะ
ซึ่งในแต่ละครั้งที่เข้าเรียนจะมีกิจกรรมของแต่ละแขนงให้ร่วมทุกครั้งทำให้เราเกิดประสบการณ์และได้ข้อคิดพร้อมทั้งประโยชน์และการแก้ปัญหาทั้งในสายงานและวิชาเรียน ซึ่งข้อคิดที่ได้นั้นก็มาจากวิทยากรที่แต่ละแขนงได้เชิญมาบรรยาย อาทิเช่น การประสบความสำเร็จในธุรกิจ การใช้ภาษาอังกฤษและภาษาไทย และในวันปัจฉิมนิทศ ซึ่งเป็นวันที่สนุกสนานและได้ความรู้ในเรื่องของธรรมะจากพระอาจารย์สมพงษ์ซึ่งท่านเป็นทีมงานธรรมะเดลิเวอร์รี่ ของพระมหาสมปองพร้อมทั้งได้ข้อคิดในเรื่องของการใช้ชีวิตและการเรียนข้อคิดที่ได้
1.มีความกตัญญูต่อบิดา มารดา
2.การมีน้ำใจ เพราะน้ำไหนๆ ก็สู้น้ำใจไม่ได้
3.อย่ามองบุคคลอื่นจากภายนอก ให้มองจากภายใน
4.รู้จักชมตนองและผู้อื่น เพื่อให้เกิดความสุข
ดิฉันจะนำข้อคิดที่ได้จากการศึกษาในวิชานี้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นคนดีของสังคมต่อไปให้มากที่สุด และขอขอบพระคุณวิทยากร และท่านอาจารย์ที่เคารพ ที่ท่านได้มาให้ความรู้และแง่คิดดีๆ
วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552
สรุปสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 4
เรื่อง Linked List
Linked List (Cont.) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่ององอิลิเมนต์ต่างๆ โดยมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อ
1.กระบวนการ Create List ทำหน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง ผลลัพธ์คือ จะได้ลิสต์ว่าง
2.กระบวนการ Insert Node ทำหน้าที่ เพิ่มข้อมูลลงไปในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ นำเข้าลิสต์ ข้อมูล และตำแหน่ง ลิสต์จะมีการเปลี่ยนแปลงไป
3.กระบวนการ Delete Node ทำหน้าที่ ลบสมาชิกในลิสต์บริเวณที่ต้องการ
4.กระบวนการ Search List ทำหน้าที่ คนหาข้อมูลในลิสต์ที่ต้องการข้อมูลนำเข้าลิสต์ ถ้าพบข้อมูลจะเป็นค่าจริง ถ้าเป็นเท็จแสดงว่าไม่มีข้อมูล
5.กระบวนการทำงาน Traverse ทำหน้าที่ท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผลข้อมูลนำเข้าลิสต์ เช่นการเปลี่ยนแปลงค่าใน Node
6.กระบวนการทำงาน Retrieve Node ทำน้าที่ หาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์
7.ฟังก์ชั่น Empty List ทำหน้าที่ ทดสอบลิสต์ว่าง ถ้าจริงลิสต์ว่าง ถ้าเป็นเท็จลิสต์ไม่ว่าง
8.ฟัง์ชั่น FullList ทำหน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่ เป็นจริงเมื่อหน่วยความจำเต็ม
9.ฟังก์ชั่น List Count ทำหน้าที่ นับจำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
10.กระบวนงาน Destroy List ทำหน้าที่ ทำลายลิสต์ ฉะนั้นผลที่ได้คือ ไม่มีลิสต์
" Linked List แบบซับซ้อน "
1.Circular Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่สมาชิกตัวสุดท้ายมีตัวชี้ ชี้ไปที่สมาชิกตัวแรกของลิงค์ลิสต์ จะมีการทำงานไปในทิศทางเดียวเท่านั้น คือ แบบวงกลม
2.Double Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่มีทิศทางการทำงานแบบ 2 ทิศทาง ส่วนข้อมูลจะมีตัวชี้ไปที่ข้อมูลก่อนหน้า และตัวชี้ข้อมูลถัดไป
Linked List (Cont.) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่ององอิลิเมนต์ต่างๆ โดยมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อ
1.กระบวนการ Create List ทำหน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง ผลลัพธ์คือ จะได้ลิสต์ว่าง
2.กระบวนการ Insert Node ทำหน้าที่ เพิ่มข้อมูลลงไปในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ นำเข้าลิสต์ ข้อมูล และตำแหน่ง ลิสต์จะมีการเปลี่ยนแปลงไป
3.กระบวนการ Delete Node ทำหน้าที่ ลบสมาชิกในลิสต์บริเวณที่ต้องการ
4.กระบวนการ Search List ทำหน้าที่ คนหาข้อมูลในลิสต์ที่ต้องการข้อมูลนำเข้าลิสต์ ถ้าพบข้อมูลจะเป็นค่าจริง ถ้าเป็นเท็จแสดงว่าไม่มีข้อมูล
5.กระบวนการทำงาน Traverse ทำหน้าที่ท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผลข้อมูลนำเข้าลิสต์ เช่นการเปลี่ยนแปลงค่าใน Node
6.กระบวนการทำงาน Retrieve Node ทำน้าที่ หาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์
7.ฟังก์ชั่น Empty List ทำหน้าที่ ทดสอบลิสต์ว่าง ถ้าจริงลิสต์ว่าง ถ้าเป็นเท็จลิสต์ไม่ว่าง
8.ฟัง์ชั่น FullList ทำหน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่ เป็นจริงเมื่อหน่วยความจำเต็ม
9.ฟังก์ชั่น List Count ทำหน้าที่ นับจำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
10.กระบวนงาน Destroy List ทำหน้าที่ ทำลายลิสต์ ฉะนั้นผลที่ได้คือ ไม่มีลิสต์
" Linked List แบบซับซ้อน "
1.Circular Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่สมาชิกตัวสุดท้ายมีตัวชี้ ชี้ไปที่สมาชิกตัวแรกของลิงค์ลิสต์ จะมีการทำงานไปในทิศทางเดียวเท่านั้น คือ แบบวงกลม
2.Double Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่มีทิศทางการทำงานแบบ 2 ทิศทาง ส่วนข้อมูลจะมีตัวชี้ไปที่ข้อมูลก่อนหน้า และตัวชี้ข้อมูลถัดไป
วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
set and string ครั้งที่ 3
โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต คือ เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน ในภาษาซี แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้ตัวดำเนินการของเซ็ต (Set operators)
ประกอบด้วย
- set intersection
- set union
- set difference (ความแตกต่าง)
สตริง (String) หรือ สตริงของอักขระ (Character String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่างสติง สตริง (String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
การกำหนดสตริง
เราทำได้หลายแบบ ดังนี้
1.กำหนดเป็นสตริงที่มีค่าคงตัว คือ กำหนดได้ทั้งนอกและในฟังก์ชั่นกำหนดไว้นอกฟังก์ชัน ชื่อค่าคงตัวจะเป็นพอยเตอร์ชี้ไปยังหน่วยความจำที่เก็บสตริงนั้น เมื่อกำหนดไว้ในฟังก์ชัน จะเป็นพอยเตอร์ไปยังหน่วยความจำที่เก็บตัวมันเอง
2.กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์การกำหนดค่าตัวแปรสตริงให้แก่ตัวแปรพอยเตอร์และอเรย์ คือ สามารถกำหนดค่าคงตัวสตริงให้พอยเตอร์หรืออเรย์ได้ในฐานะค่าเริ่มต้น
การกำหนดตัวแปรสตริง คือ ในการกำหนดตัวแปรของสตริง อาศัยหลักการของอะเรย์ เพราะ สตริงก็คืออะเรย์ของอักขระที่ปิดท้ายด้วย null character (\0) และมีฟังก์ชันพิเศษสำหรับทำงานกับสตริงโดยเฉพาะอะเรย์ของสตริง คือ ถ้าหากมีสตริงจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอะเรย์ของสตริง เพื่อที่จะเขียนโปรแกรมได้สะดวก การสร้างอะเรย์ของสตริง สามารถสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง
ในการดำเนินการเกี่ยวกับสตริง จะมีฟังก์ชันที่อยู่ในแฟ้ม ข้อมูล stdio.h เก็บอยู่ใน C Library อยู่แล้วสามารถนำมาใช้ได้ โดยการใช้คำสั่ง #include ในการเรียกใช้ เช่น
- ฟังก์ชัน strlen(str) ใช้หาความยาวของสตริง
- ฟังก์ชัน strcpy (str1,str2) ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string หนึ่งไปยังอีก string หนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcat(str1,str2) ใช้เชื่อมต่อข้อความ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
ประกอบด้วย
- set intersection
- set union
- set difference (ความแตกต่าง)
สตริง (String) หรือ สตริงของอักขระ (Character String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่างสติง สตริง (String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
การกำหนดสตริง
เราทำได้หลายแบบ ดังนี้
1.กำหนดเป็นสตริงที่มีค่าคงตัว คือ กำหนดได้ทั้งนอกและในฟังก์ชั่นกำหนดไว้นอกฟังก์ชัน ชื่อค่าคงตัวจะเป็นพอยเตอร์ชี้ไปยังหน่วยความจำที่เก็บสตริงนั้น เมื่อกำหนดไว้ในฟังก์ชัน จะเป็นพอยเตอร์ไปยังหน่วยความจำที่เก็บตัวมันเอง
2.กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์การกำหนดค่าตัวแปรสตริงให้แก่ตัวแปรพอยเตอร์และอเรย์ คือ สามารถกำหนดค่าคงตัวสตริงให้พอยเตอร์หรืออเรย์ได้ในฐานะค่าเริ่มต้น
การกำหนดตัวแปรสตริง คือ ในการกำหนดตัวแปรของสตริง อาศัยหลักการของอะเรย์ เพราะ สตริงก็คืออะเรย์ของอักขระที่ปิดท้ายด้วย null character (\0) และมีฟังก์ชันพิเศษสำหรับทำงานกับสตริงโดยเฉพาะอะเรย์ของสตริง คือ ถ้าหากมีสตริงจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอะเรย์ของสตริง เพื่อที่จะเขียนโปรแกรมได้สะดวก การสร้างอะเรย์ของสตริง สามารถสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง
ในการดำเนินการเกี่ยวกับสตริง จะมีฟังก์ชันที่อยู่ในแฟ้ม ข้อมูล stdio.h เก็บอยู่ใน C Library อยู่แล้วสามารถนำมาใช้ได้ โดยการใช้คำสั่ง #include ในการเรียกใช้ เช่น
- ฟังก์ชัน strlen(str) ใช้หาความยาวของสตริง
- ฟังก์ชัน strcpy (str1,str2) ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string หนึ่งไปยังอีก string หนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcat(str1,str2) ใช้เชื่อมต่อข้อความ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552
สรุปเรื่อง Array and Record ครั้งที่2
Array= อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์อคือ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลักจะพิจารณาตามประเภทอะเรย์คือ
1.อะเรย์ 1 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำสำหรับตัแปร a ให้เป็นตัวแปรชุด character ขนาดสมาชิก 4 สมาชิก โดยหน่วยควาจำจะเตรียมเนื้อที่ให้ 1 byte สำหรับ 1 ชื่อตัวแปร
2.อะเรย์ 2 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำ จำนวน 6 ที่สำหรับตัวแปร a
1.อะเรย์ 1 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำสำหรับตัแปร a ให้เป็นตัวแปรชุด character ขนาดสมาชิก 4 สมาชิก โดยหน่วยควาจำจะเตรียมเนื้อที่ให้ 1 byte สำหรับ 1 ชื่อตัวแปร
2.อะเรย์ 2 มิติ คือ คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำ จำนวน 6 ที่สำหรับตัวแปร a
วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552
สรุปสาระในการเรียนรู้ครั้งที่1
รู้ถึงความหมายของโครงสร้างข้อมูล
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
ในภาษาคอมพิวเตอร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ
1.1 ข้อมูลเบื้องต้น Primitive Data Types
1.2 ข้อมูลโครงสร้าง Structured Data Types
2. โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
-เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้างขึ้น แบ่ง เป็น 2 ประเภท
2.1 โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น Linear Data Structures
2.2 โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ Non-Linear Data Structures
ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัว
ได้แก่ ทรี และกราฟ
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหนุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
ภาษาขั้นตอนวิธี Algorithm Language
1. ตัแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษรหรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ
นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายใน
การเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ = ไม่เท่ากับ
< น้อยกว่า > มากกว่า
≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ
goto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไข
ก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของ
ขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
ในภาษาคอมพิวเตอร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ
1.1 ข้อมูลเบื้องต้น Primitive Data Types
1.2 ข้อมูลโครงสร้าง Structured Data Types
2. โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
-เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้างขึ้น แบ่ง เป็น 2 ประเภท
2.1 โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น Linear Data Structures
2.2 โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ Non-Linear Data Structures
ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัว
ได้แก่ ทรี และกราฟ
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหนุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
ภาษาขั้นตอนวิธี Algorithm Language
1. ตัแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษรหรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ
นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายใน
การเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ = ไม่เท่ากับ
< น้อยกว่า > มากกว่า
≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ
goto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไข
ก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของ
ขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /
DTS-02/23/06/2552
#include
#include
void main()
{
struct car {
char kind[50];
char brand[50];
char genevation[50];
char color[30];
char price[30];
char gears[20];
int regis;
char country[20];
};
struct car vehicle;
strcpy(vehicle.kind,"car");
strcpy(vehicle.brand,"Honda");
strcpy(vehicle.genevation,"Jazz");
strcpy(vehicle.color,"white");
strcpy(vehicle.price,"560000");
strcpy(vehicle.gears,"Auto");
vehicle.regis=1234.00;
strcpy(vehicle.country,"Thailand");
printf("==========Car========\n\n");
printf(" Kind: %s\n",vehicle.kind);
printf(" Brand: %s\n",vehicle.brand);
printf(" Genevation: %s\n",vehicle.genevation);
printf(" Color: %s\n",vehicle.color);
printf(" Price: %s\n",vehicle.price);
printf(" Gears: %s\n",vehicle.gears);
printf(" Register: %d\n",vehicle.regis);
printf(" Country: %s\n",vehicle.country);
}
#include
void main()
{
struct car {
char kind[50];
char brand[50];
char genevation[50];
char color[30];
char price[30];
char gears[20];
int regis;
char country[20];
};
struct car vehicle;
strcpy(vehicle.kind,"car");
strcpy(vehicle.brand,"Honda");
strcpy(vehicle.genevation,"Jazz");
strcpy(vehicle.color,"white");
strcpy(vehicle.price,"560000");
strcpy(vehicle.gears,"Auto");
vehicle.regis=1234.00;
strcpy(vehicle.country,"Thailand");
printf("==========Car========\n\n");
printf(" Kind: %s\n",vehicle.kind);
printf(" Brand: %s\n",vehicle.brand);
printf(" Genevation: %s\n",vehicle.genevation);
printf(" Color: %s\n",vehicle.color);
printf(" Price: %s\n",vehicle.price);
printf(" Gears: %s\n",vehicle.gears);
printf(" Register: %d\n",vehicle.regis);
printf(" Country: %s\n",vehicle.country);
}
วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ประวัติ
ชื่อ : นางสาวนิภาดา ประทุมทอง ชื่อเล่น ตาล
รหัสนักศึกษา 50132792061
Miss.Nipada Pratomthong
หลักสูตร : การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
E-mail: u50132792061@gmail.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)